บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
(Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood)
อาจารย์ผู้สอน อ.ตฤณ แจ่มถิน
ประจำวันที่ 24 สิงหาคม 2557
เรียนครั้งที่ 1 เวลา 08:30-12:30 น.
กลุ่ม 101 ห้องเรียน 223
Knowledge ( ความรู้ )
1) กิจกรรม " เล่นเกมรถไฟเหาะแห่งชีวิต "
โดยมีคำถาม 5 คำถาม คือ
1. ถ้าสมมติไปเที่ยวสวนสนุกแล้วเจอคนเข้าแถวรอเล่นรถไฟเหาะแบบยาวมาก เราคิดว่าเราต้องรอกี่นาทีถึงจะได้เล่น?
2. ในขณะที่เล่นรถไฟเหาะเรารู้สึกอย่างไร ?
3. ถ้ารถไฟเหาะถึงที่ลงน้ำถือว่าเป็นจุดที่สนุกที่สุดเราจะรู้สึกอย่างไร ?
4. ถ้าสมมติเราเล่นม้าหมุนแล้วม้าหมุนตัวที่เราเลือกพังเราจะรู้สึกอย่างไร ?
5. ให้วาดรูปรถไฟเหาะที่เราคิดว่าสนุกที่สุด!
2) เรียนใน Power point เรื่อง " การจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย "
การจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
*ความหมายของความคิดสร้างสรรค์*
- Jellen and Urban
ความคิดสร้างสรรค์เป็นการคิดอย่างอิสระในเชิงนวัตกรรม จินตนาการ
- De Bono
ความสามารถในการคิดนอกกรอบเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหา
- อุษณีย์ โพธิสุข
กระบวนการทางปัญญาระดับสูงที่ใช้กระบวนการทางความคิดหลายๆอย่างมารวมกันเพื่อสร้างสรรค์สิ่งใหม่หรือแก้ปัญหาที่มีอยู่ให้ดีขึ้น และต้องมีอิสรภาพทางความคิด
* คุณค่าของความคิดสร้างสรรค์ *
- คุณค่าต่อสังคม
- คุณค่าต่อตนเอง
- ทำให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
- ช่วยลดความเครียดทางอารมณ์
- มีความภูมิใจและเชื่อมั่นในตนเอง
- นำมาซึ่งความเป็นผู้นำ
- ตระหนักถึงคุณค่าของตนเอง
- ช่วยส่งเสริมสุนทรียภาพ
- สร้างนิสัยในการทำงานที่ดี
- พัฒนากล้ามเนื้อ
- เปิดโอกาสให้เด็กได้ค้นคว้าและทดลองและประสบความสำเร็จ
* องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ *
Guilford ได้แบ่งองค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์เป็น 4 ด้าน
3. ความคิดยืดหยุ่นความคิดยืดหยุ่น ( Flexibility)
- ความคิดยืดหยุ่นที่เกิดขึ้นทันที ( Spontaneous Flexibility)
- ความคิดยืดหยุ่นทางการดัดแปลง ( Adapture Flexibility)
4. ความคิดละเอียดลออ ( Elaboration)
- ความคิดที่เกี่ยวกับรายละเอียดที่ใช้ในการตกแต่ง
- เพื่อทำให้ความคิดริเริ่มและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
*พัฒนาการทางความคิดสร้างสรรค์*
(Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood)
อาจารย์ผู้สอน อ.ตฤณ แจ่มถิน
ประจำวันที่ 24 สิงหาคม 2557
เรียนครั้งที่ 1 เวลา 08:30-12:30 น.
กลุ่ม 101 ห้องเรียน 223
Knowledge ( ความรู้ )
1) กิจกรรม " เล่นเกมรถไฟเหาะแห่งชีวิต "
โดยมีคำถาม 5 คำถาม คือ
1. ถ้าสมมติไปเที่ยวสวนสนุกแล้วเจอคนเข้าแถวรอเล่นรถไฟเหาะแบบยาวมาก เราคิดว่าเราต้องรอกี่นาทีถึงจะได้เล่น?
2. ในขณะที่เล่นรถไฟเหาะเรารู้สึกอย่างไร ?
3. ถ้ารถไฟเหาะถึงที่ลงน้ำถือว่าเป็นจุดที่สนุกที่สุดเราจะรู้สึกอย่างไร ?
4. ถ้าสมมติเราเล่นม้าหมุนแล้วม้าหมุนตัวที่เราเลือกพังเราจะรู้สึกอย่างไร ?
5. ให้วาดรูปรถไฟเหาะที่เราคิดว่าสนุกที่สุด!
2) เรียนใน Power point เรื่อง " การจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย "
การจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
*ความหมายของความคิดสร้างสรรค์*
- Jellen and Urban
ความคิดสร้างสรรค์เป็นการคิดอย่างอิสระในเชิงนวัตกรรม จินตนาการ
- De Bono
ความสามารถในการคิดนอกกรอบเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหา
- อุษณีย์ โพธิสุข
กระบวนการทางปัญญาระดับสูงที่ใช้กระบวนการทางความคิดหลายๆอย่างมารวมกันเพื่อสร้างสรรค์สิ่งใหม่หรือแก้ปัญหาที่มีอยู่ให้ดีขึ้น และต้องมีอิสรภาพทางความคิด
* คุณค่าของความคิดสร้างสรรค์ *
- คุณค่าต่อสังคม
- คุณค่าต่อตนเอง
- ทำให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
- ช่วยลดความเครียดทางอารมณ์
- มีความภูมิใจและเชื่อมั่นในตนเอง
- นำมาซึ่งความเป็นผู้นำ
- ตระหนักถึงคุณค่าของตนเอง
- ช่วยส่งเสริมสุนทรียภาพ
- สร้างนิสัยในการทำงานที่ดี
- พัฒนากล้ามเนื้อ
- เปิดโอกาสให้เด็กได้ค้นคว้าและทดลองและประสบความสำเร็จ
* องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ *
Guilford ได้แบ่งองค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์เป็น 4 ด้าน
1. ความคิดคล่องแคล่ว (Fluency)
- ด้านถ้อยคำ ( Word Fluency)
- ด้านการเชื่อมโยงสัมพันธ์ (Association Fluency)
- ด้านการแสดงออก ( Expressional Fluency)
- ด้านการคิด ( Ideation Fluency)
2. ความคิดริเริ่ม (originality)
ความคิดแปลกใหม่และแตกต่างไปจากความคิดธรรมดาหรือแตกต่างกับคนอื่น
- ด้านถ้อยคำ ( Word Fluency)
- ด้านการเชื่อมโยงสัมพันธ์ (Association Fluency)
- ด้านการแสดงออก ( Expressional Fluency)
- ด้านการคิด ( Ideation Fluency)
2. ความคิดริเริ่ม (originality)
ความคิดแปลกใหม่และแตกต่างไปจากความคิดธรรมดาหรือแตกต่างกับคนอื่น
3. ความคิดยืดหยุ่นความคิดยืดหยุ่น ( Flexibility)
- ความคิดยืดหยุ่นที่เกิดขึ้นทันที ( Spontaneous Flexibility)
- ความคิดยืดหยุ่นทางการดัดแปลง ( Adapture Flexibility)
4. ความคิดละเอียดลออ ( Elaboration)
- ความคิดที่เกี่ยวกับรายละเอียดที่ใช้ในการตกแต่ง
- เพื่อทำให้ความคิดริเริ่มและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
*พัฒนาการทางความคิดสร้างสรรค์*
Torrance ได้แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
- ระยะแรกเกิดถึง 2 ขวบมีเจตนาการสำรวจสิ่งแวดล้อมรอบตัว
- ระยะ 2-4 ขวบ ตื่นตัวกับสิ่งใหม่ๆใ ช้จินตนาการกับการเล่น ยึดตัวเองเป็นศูนย์กลางช่วงความสนใจสั้น
- ระยะแรกเกิดถึง 2 ขวบมีเจตนาการสำรวจสิ่งแวดล้อมรอบตัว
- ระยะ 2-4 ขวบ ตื่นตัวกับสิ่งใหม่ๆใ ช้จินตนาการกับการเล่น ยึดตัวเองเป็นศูนย์กลางช่วงความสนใจสั้น
- ระยะ 4-6 ขวบ สนุกกับการวางแผน การเล่นการทำงาน ชอบเล่นสมมติ เชื่อมโยง
เส้นต่างๆได้ แต่เข้าใจเหตุผลได้ไม่ดีนัก
3) กิจกรรม"เครื่องบินกระดาษ"เส้นต่างๆได้ แต่เข้าใจเหตุผลได้ไม่ดีนัก
*ลำดับขั้นของพัฒนาการทางความคิดสร้างสรรค์*
Torrance ได้แบ่งออกเป็น 5 ขั้น
- ขั้นที่ 1 แสดงออกอย่างอิสระทางความคิดไม่คำนึงถึงคุณภาพ
- ขั้นที่ 2 งานที่ผลิตต้องอาศัยทักษะบางอย่าง
- ขั้นที่ 3 ประดิษฐ์สิ่งใหม่ๆไม่ซ้ำใคร
- ขั้นที่ 4 ปรับปรุงครั้งที่ 3
Torrance ได้แบ่งออกเป็น 5 ขั้น
- ขั้นที่ 1 แสดงออกอย่างอิสระทางความคิดไม่คำนึงถึงคุณภาพ
- ขั้นที่ 2 งานที่ผลิตต้องอาศัยทักษะบางอย่าง
- ขั้นที่ 3 ประดิษฐ์สิ่งใหม่ๆไม่ซ้ำใคร
- ขั้นที่ 4 ปรับปรุงครั้งที่ 3
- ขั้นที่ 5 คิดสิ่งที่เป็นนามธรรมขั้นสูงสุด คิดหลักการใหม่ๆ
* ประโยชน์ของความคิดสร้างสรรค์*
- ก่อให้เกิดสิ่งแปลกใหม่
- อำนวยประโยชน์สุขให้แก่บุคคล
- ช่วยให้เข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาได้ดี
- ช่วยให้บุคคลประสบความสำเร็จ
- ช่วยให้ปรับตัวได้ดี
* ประโยชน์ของความคิดสร้างสรรค์*
- ก่อให้เกิดสิ่งแปลกใหม่
- อำนวยประโยชน์สุขให้แก่บุคคล
- ช่วยให้เข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาได้ดี
- ช่วยให้บุคคลประสบความสำเร็จ
- ช่วยให้ปรับตัวได้ดี
อาจารย์แจกกระดาษให้นักศึกษาคนละแผ่น ให้พับเครื่องบินในแบบของตนเองโดยทำยังไงก็ได้ที่ทำให้เครื่องสามารถร่อนลงกล่องได้
5) กิจกรรมเส้นและจุด
- อาจารย์แจกกระดาษให้ 1 แผ่น และสีให้คนละแท่ง
- ให้จับคู่ 2 คน โดยให้คนหนึ่งเป็นเส้น อีกคนหนึ่งเป็นจุด โดยมีวิธีการทำกิจกรรมว่า อาจารย์จะเปิดเพลงให้คนที่เป็นเส้นลากเส้นไปเรื่อยๆตามจังหวะเพลงโดยห้ามยกสีขึ้นเด็ดขาด และคนที่เป็นจุดมีหน้าที่จุดในเส้นที่เป็นวงกลม
- ให้นักศึกษาแต่ละคู่ออกมานำเสนอผลงาน
5) กิจกรรมเส้นและจุด
- อาจารย์แจกกระดาษให้ 1 แผ่น และสีให้คนละแท่ง
- เมื่อเพลงจบก็จะได้ดังรูปภาพที่มีแต่เส้นและจุด จากนั้นอาจารย์ก็ให้มองรุปภาพและใช้จินตนาการในการสนสร้างรูปภาพที่เราคิด ดังที่จะเห็นในรูปภาพด้านล่างนี้
- ให้นักศึกษาแต่ละคู่ออกมานำเสนอผลงาน
- อาจารย์พูดคุยและสรุปถึงกิจกรรมที่ทำ
สรุป
ในการทำกิจกรรมเราไม่ควรตีกรอบความคิดเด็ก เพราะจะเป็นการกำหนดความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก เราควรเปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือทำและคิดด้วยตนเอง เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกัน ดังนั้นครูไม่ควรตัดสินผลงานของเด็กว่าสวยหรือไม่สวย ดีหรือไม่ดี การที่เด็กสร้างสรรค์ผลงานออกมาเด็กย่อมมีความคิดสร้างสรรค์มีจินตนาการเป็นของตนเอง ครูควรให้การสนับสนุนหรือส่งเสริมให้เขาได้ทำในสิ่งที่เขาอยากทำเพราะจะเป็นการพัฒนาให้เขามีความคิดสร้างสรรค์ที่ดีมากยิ่งขึ้น
Skill ( ทักษะ )
- ทักษะในการคิด
- ทักษะในการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
- ทักษะในการนำเสนองาน
- ทักษะในการทำศิลปะ
Application ( การประยุกต์ใช้ )
นำไปเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้เด็ก และจัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติเอง ได้ใช้จินตรนาการของเขาเอง
Technical Education ( เทคนิคการสอน )
- เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- ให้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
- ใช้คำถามเพื่อให้เกิดการคิดวิเคราะห์
Evaluation ( การประเมิน )
Self : ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
Friends : ตั้งใจเรียน ช่วยกันตอบคำถาม ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
Teacher : เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพ ใช้น้ำเสียงสูงต่ำน่าฟัง พูดโน้มน้าวจิตใจ และสอนได้เข้าใจง่ายยิ่งขึ้น
สรุป
ในการทำกิจกรรมเราไม่ควรตีกรอบความคิดเด็ก เพราะจะเป็นการกำหนดความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก เราควรเปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือทำและคิดด้วยตนเอง เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกัน ดังนั้นครูไม่ควรตัดสินผลงานของเด็กว่าสวยหรือไม่สวย ดีหรือไม่ดี การที่เด็กสร้างสรรค์ผลงานออกมาเด็กย่อมมีความคิดสร้างสรรค์มีจินตนาการเป็นของตนเอง ครูควรให้การสนับสนุนหรือส่งเสริมให้เขาได้ทำในสิ่งที่เขาอยากทำเพราะจะเป็นการพัฒนาให้เขามีความคิดสร้างสรรค์ที่ดีมากยิ่งขึ้น
Skill ( ทักษะ )
- ทักษะในการคิด
- ทักษะในการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
- ทักษะในการนำเสนองาน
- ทักษะในการทำศิลปะ
Application ( การประยุกต์ใช้ )
นำไปเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้เด็ก และจัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติเอง ได้ใช้จินตรนาการของเขาเอง
Technical Education ( เทคนิคการสอน )
- เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- ให้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
- ใช้คำถามเพื่อให้เกิดการคิดวิเคราะห์
Evaluation ( การประเมิน )
Self : ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
Friends : ตั้งใจเรียน ช่วยกันตอบคำถาม ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
Teacher : เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพ ใช้น้ำเสียงสูงต่ำน่าฟัง พูดโน้มน้าวจิตใจ และสอนได้เข้าใจง่ายยิ่งขึ้น